คอมพิวเตอร์ราคาประหยัด

คอมพิวเตอร์ราคาประหยัด

ความเป็นมา จากการที่ได้มีนโยบายส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการพัฒนาประเทศรวมทั้งการนำมาใช้เป็นเครื่องมือปรับปรุงบริการภาดรัฐ การเรียนการสอน การใช้อินเทอร์เน็ตหรือการส่งเสริมให้มี
e-Commerce มากขึ้นนั้น ในปี 2543 มีการซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ใหม่ประมาณ 600,000 เครื่อง ถ้าหากต้องซื้อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องละ 30,000 บาทประเทศไทยจะต้องเสียเงินให้ต่างประเทศประมาณ
7,200 ล้านบาทและคาดว่าจะมีการเพิ่มความต้องการขึ้นเรื่อยๆ และเป็นจำนวนล้านเครื่องในอีก 2-3 ปีข้างหน้านี้
วัตถุประสงค์โครงการ
เพื่อส่งเสเริมให้มีการผลิตและจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์โดยเอกชน ในราคาต่ำ (เช่น 10% ต่ำกว่าราคาอ้างอิงในสิงคโปร์เป็นต้น ) ทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติ ที่สามารถรองรับความต้องการปกติได้
และมีการรับประกันเป็นระยะเวลา 3 ปี และซื้อขายใน ระบบที่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม
หลักการและเหตุผล
ได้มีบริษัทใหญ่ๆ ในโลกได้ประกาศที่จะผลิตจำหน่ายเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในราคาที่ต่ำกว่า 500 เหรียญสหรัฐ แล้วก็ตาม หรือบางประเทศ เช่นเกาหลีก็มีโครงการคอมพิวเตอร์ราคาถูกเพื่อให้ทีการสนับสนุนให้มีการใช้ไอที หรืออินเตอร์เน็ตจำนวนมากขึ้น และก็ได้รับผลสำเร้จที่ดีแต่สำหรับประเทศไทยแล้วการที่จะผลิตจำหน่ายในราคาที่ต่ำกว่านั้นยังคงเป็นที่ห่างไกลความเป้นจริงอยู่มาก แต่อย่างไรก็มีข้อมูลที่หน้าสนใจและอาจจะใช้เป็นแนวคิดในการดำเนินงานเพื่อหาแนวทางให้เกิดคอมพิวเตอร์ถูกลงได้
1 ประเทศไทยไม่ใช้เจ้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(แต่ก็สามารถผลิตได้ ) และตลาดในไทยเมื่อเปรียบเทียบกับตลาดโลกแล้วมีสัดส่วนน้อยมากดังนั้นราคาต้องอ้างอิงกับราคาที่ต่างประเทศยอมรับโดยทั่วไป เช่นประเทษสิงคโปร์.
2 ประเทศไทยเป็นประเทศเปิดและอยู่ภายใต้เงื่อนไขต่างๆที่สังคมโลกกำหนด เช่น WTO.ITA เป็นต้น
3 จากการศึกษาโครงสร้างราคาของไมโครคอมพิวเตอร์
4 ประเทศไทยมีการส่งเสริมการการผลิต
5 ตลาดในประเทศขยายตัว
6 สินค้าที่ผลิตในต่างประเทศ
7 มีผู้ผลิตที่เป็นรายย่อยๆ
แนวการดำเนินงาน การที่จะทำให้โครงการผลิตเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ราคาประหยัดประสบผลสำเร็จได้นั้นจะต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดังนี้
1 ผู้ผลิตชิ้นส่วน 2 ผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ 3 เนคเทค
ถามตอบ เอกชนที่สนใจเข้าร่วมสามารถเช้าร่วมในโครงการรับรองคุณภาพคอมพิวเตอร์โดยไม่มีค่า ใช้จ่ายใดๆส่วนผลิตภัณฑ์ที่จะได้รับการรับรองนั้นมีเงื่อนไขคือ
1 บริษัทผู้ผลิตภายใต้ระบบคุณภาพ
2 คุณสมบัติเครื่องเป็นไปตามคุณสมบัติขั้นต่ำที่กรรมการรับรองคุณภาพ
บรรณานุกรม NECTEC ปีที่ 7 ฉบับที่ 37 พฤศจิกายน – ธันวาคม 2543 ISSN 0858-2556



โดย : อื่นๆ บุญธรรม ตันทา, กรมแพทย์ทหารอากาศ, วันที่ 21 เมษายน 2545