การแสดงพื้นบ้านในประเทศไทย

เรณู โกศินานนท์ . การแสดงพื้นในประเทศไทย . พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช ,
2537. 73 หน้า

การแสดงพื้นบ้านมีประวัติและเรื่องราวยาวนานตั้งแต่สมัยอยุธยา เกิดจากปัญญาชนของท้องถิ่นที่สร้างสรรค์ขึ้นโดยอาศัยส่งแวดล้อมเป็นพื้นฐาน มีความเด่นชัดในเอกลักษณ์ของตนเองตามรูปแบบลักษณะ ลีลาความเคลื่อนไหว น้ำเสียงตามสำเนียงท้องถิ่น ตลอดจนกิริยามารยาทและความเชื่อถือ เนื้อหาของหนังสือกล่าวถึงลักษณะที่วไปทางสังคมและการแสดงต่าง ๆ ของภาคกลาง ภาคเหนือเป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรำ เช่น ฟ้อนเมือง ฟ้อนม่าน ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน และดนตรีพื้นเมืองการแสดงของภาคอีสาน คือ กลองเส็ง หมอลำ เพลงโคราช กันตรึม และเซิ้ง การแสดงของศาสนาพุทธ ความเชื่อในการรักษาดรคภัยไข้เจ็บปกากะญอ ซึ่งวิธีชีวิตของชาวปกากะญอมีนิยามที่ให้ภาพลักษณ์ที่ชัดเจนว่า วิถีชีวิตของปกากะญอก็คือ การพึ่งตนเองและการอยู่กับธรรมชาติได้อย่างผสมกลมกลืน



โดย : นางสาว patjarin buchumsuk, ripw konglung patumtane, วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2545