ไวยยากรณ์


ไวยากรณ์
เวยยากรณ (บาลี ) ให้คำจำกัดความว่า ทำให้แจ้ง ,อธิบายและประกอบรูปศัพท์นามกิตถ์เป็น วยากรณ์ (ทำให้เห็นแจ้งจากการพยากรณ์)
วยากรณ (สันสกฤต) ให้คำจำกัดความว่า การชี้แจง การแสดง(explaining ,expounding) คำว่า วยากรณ เป็นชื่อหมวดวิชาหนึ่งทางเวทางคศาสตร์ (วิชาประกอบการศึกษาพระเวท มี 6 อย่าง 1. ศึกษาวิธีออกเสียงคำในพระเวทให้ถูกต้อง ,2. ไวยากรณ์ , 3. ฉันท์ , 4.โชยตัส(ตกศาสตร์) , 5.นิรุกติ (กำเหนิดคำ) 6.กัลปะ(จัดพิธี) )
เราอาจสรุปว่า ไวยกรณ์ เป็นเรื่องเกี่ยวเนื่องกับการแยกแยะข้อความเป็นหน่วยเล็กๆ และการอธิบายการรวมกันของหน่วยเล็กๆนี้เพื่อให้เกิดความหมายที่เข้าใจ
 ไทย หมายถึง ตำราว่าด้วยเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับภาษา
- ตำราสยามไวยากรณ์ (ฉบับกระทรวงศึกษาธิการ ของเจ้าพระยาเสด็จสุเรนทราธิบดี)
- ตำราหลักภาษา (พระยาอุปกิตศิลปกร) ซึ่งแบ่งเป็น อักขระวิธี,วจีวิภาค ,วากยสัมพันธ์,ฉันทลักษณ์
ไวยากรณ์ มีความหมายตรงกับ Grammar(= Structure แปลว่าโครงสร้างภาษา) ในภาษาอังกฤษ

จากเอกสารประกอบการสอน วิชา ทย. 413 หลักภาษา ยมโดย เพ็งพงศา (จากหอสมุดแห่งชาติ)




โดย : นาง นางมนัสนันท์ เหิรอดิศัย, โรงเรียนวัดนาคนิมิตร, วันที่ 25 เมษายน 2545