ซอฟต์แวร์

การวัด Reusability ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงรุก

การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุเป็นวิธีการที่กำลังได้รับความนิยมป็นอย่างมากในปัจจุบัน วิธีการนี้ถูกโฆษณาว่าทำให้การนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ( Reusability ) สูงขึ้นจากวิธีการเดิมซึ่งหมายความว่าเราสาสมรถเขียนซอฟต์แวร์ใหม่ขึ้นได้จากการรวบรวมออปเจ็กที่ถูกออกแบบมาอย่างดีและเป็นมาตรฐานโดยใช้การเขียนโปรแกรมเพียงเล็กน้อย
REUSABILITY คือ อะไรก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจกันก่อนว่าเมื่อเรากล่าวถึง Reusability
หมายถึงการนำอะไรกลับมาใช้ใหม่ หมายถึงการนำเอาส่วนประกอบของซอฟต์แวร์กลับมาใช้ใหม่ส่วนประกอบที่นี้ไน่จำเป็นต้องเป็นมอดูล
Reusability สำคัญอย่างไร 1 ลดเวลาและความพยายามในการสร้างซอฟต์แวร์ใหม่
2 ลดค่าใช้จ่ายในการสร้างซอฟต์แวร์ใหม่ 3 เพิ่มคุณภาพของระบบซอฟต์แวร์ 4 ลดเวลาและความพยายามในการดูแลระบบ
ประเภทของ Reusability การ Reuse มีอยู่ 2 ประเภท คือ Accidental reuse และ Deiiderate reusa ถ้านักพัฒนาพบว่าส่วนประกอบของผลิคภัณฑ์เก่าที่ได้พัฒนาไว้สามารถนำมาใช้กับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่กำลังพัฒนาอยู่ได้ ในระยะหลังการพัฒนาระบบมักเกิดการเปลี่ยนแปลงความต้องการต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ระบบ เช่นการเปลี่ยนระบบปฎิบัติการที่ต้องการใช้
2. ผู้ใช้งานที่ได้รับมอบหมายหรือการติดตั้ง เช่นการเปลี่ยนผู้ใช้หรือเปลี่ยนแปลงความต้องการในการใช้งานระบบ
3. ฟังก์ชั้นหรือคุณสมติในการงาน เช่นการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนหรือลักษณะการทำงานในรายระเอียด
อุปสรรคของการ Reusa
ข้อแรกคือเรื่องขอ Ego ของผู้พัฒนาเองนักพัฒนาบางคนไม่นิยมใช้ส่วนประกอบที่มาจากผู้อื่นเนื่องจากเชื่อว่าตนเองเขียนขึ้นเองได้ดีกว่า
การวัดทางซอฟต์แวร์
ถ้าไม่มีการวัดเราไม่สามารถตรวจพบปัญหาได้ก่อนที่มันจะเกิดขึ้นในกระบวนการทางซอฟต์แวร์ Metric
จะทำหน้าที่เป็นการเตือนล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหาที่หน้าจะเกิดขึ้นทำให้เราป้องกันได้ล่วงหน้าและเป็นการรับประกันคุณภาพของซอฟต์แวร์อีกด้วย
สรุป
การวัดการ REUSA ช่วยให้เราสร้างซอฟต์แวร์ ที่มี REUSABILITY สูงได้แม้ว่าการสร้างซอฟต์แวร์ นี้จะมีราคาแพงและต้องใช้ความสามารถ ความพยายาม เวลา และประสบการณ์มากแต่ใช้อย่างถูกต้องโดยให้มี
Trade off ระหว่างค่าต่างๆ ที่ดีแล้ว จะทำให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ ต่อไปหรือการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ

บรรณานุกรม NECTEC ปีที่ 7 ฉบับที่ 37 พฤศจิกายน – ธันวาคม 2543 ISSN 0858-2556



โดย : อื่นๆ บุญธรรม ตันทา, กรมแพทย์ทหารอากาศ, วันที่ 21 เมษายน 2545