ชุดทดสอบแคลเซียม (หินปูน)

 

อุปกรณ์

 

1. น้ำยา    #1       1 ฃวด

2. ผงฃวด #2        1 ฃวด

3. น้ำยา    #3       1 ฃวด

4. หลอดทดสอบ    1 ใบ

 

วิธีการ

 

      1. ล้างหลอดทดสอบด้วยน้ำตัวอย่าง และเติมน้ำตัวอย่างจนถึงขีด 5 ซีซี

      2. หยดน้ำยาฃวด #1 จำนวน 8 หยด เขย่าเบาๆ

      3. เติมผงฃวด #2 จำนวน 1 ช้อนปาด เขย่าเบาๆ

      4. หยดน้ำยาฃวด #3 ที่ละหยด นับจำนวนหยดที่ทำให้ น้ำเปลี่ยนจากสีชมพู ไปเป็นสีฟ้า

      5. น้ำจำนวนหยดที่นับได้ คูณด้วย 20 จะได้ค่าแคลเซียม(หินปูน) ในน้ำมีหน่วยเป็น mg/l


ผลการทดลอง

1. น้ำตัวอย่างในหลอดทดสอบ เดิมมีลักษณะขาวใส

2. เมื่อเติมน้ำยาฃวด #1 จำนวน 8 หยด และผ่านการเขย่าเบาๆแล้ว น้ำตัวอย่างยังคงเป็นลักษณะขาวใสเช่นเดิม

3. แต่เมื่อเติมผงฃวด #2 จำนวน 1ช้อน ปรากฏว่าน้ำตัวอย่างเปลี่ยนจากสีขาวใส ไปเป็นสีชมพู

4. และเมื่อหยดน้ำยาฃวด #3 เป็นจำนวน 4 หยด ปรากฏว่าน้ำตัวอย่างเปลี่ยนจากสีชมพู ไปเป็น สีฟ้าอ่อน

5. เมื่อนำจำนวนหยด คือ 4 มาคูณ ด้วย 20 ทำให้ทราบว่าในน้ำตัวอย่างนั้นมีจำนวนแคลเซียม(หินปูน) ปะปนอยู่เท่ากับ 80 mg/l ซึ่งยังอยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้

 

น้ำตัวอย่าง     เติมสารซวดที่2     หลังผสมน้ำยาซวดที่3

เกร็ดความรู้เพิ่มเติม..

     เราสามารถนำวิธีการทดสอบแคลเซียม (หินปูน)ดังกล่าวไปใช้ในกรณีแก้ใขและปรับปรุงสภาพน้ำให้เหมาะสมกับการเลี้ยงสัตว์น้ำต่างๆได้

 

ตารางการแปลผลและการแก้ใข

ปริมาณแคลเซียมในน้ำ
แปลผลและแก้ใข

15 mg/l ไม่ควรเกิน 300 mg/l

มากกว่า 50 mg/l

400 - 450 mg/l

แหล่งน้ำจืดตามธรรมชาติทั่วๆไป / ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด

ระดับที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงสัตว์น้ำจืดและน้ำกร่อย

แหล่งน้ำเค็มทั่วไป / ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

 

 

หมายเหตุ

     ในบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำถ้ามีค่าสูงขึ้นหรือต้องการลด ดร๊อปแพลงก์ตอน พืชบางส่วน ถ่ายน้ำ ควรควบคุมพีเอช 7.8-8.2 ด้วย
ถ้ามีค่าต่ำหรือต้องการเพิ่ม เติมวัสดุปูน/โดโลไมท์ 10-25 กก./ไร่ ลึก 1 เมตร แต่ถ้าพีเอชสูงเกิน 8.5 วัสดุปูน/โดโลไมท์จะไม่ละลาย
น้ำ ต้องมีกุ้งหรือเศษอาหาร จึงทำงานได้ที่พื้นก้นบ่อ

 


กลับหน้าแรก