หน้าหลัก
ประเภทของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
อัลบั้มรูปดอกไม้
คณะผู้จัดทำ
ข้อมูลทั่วไป

ชื่ออื่น จ๊ามั่ง จะมั่ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Quisqualis indica

ชื่อสามัญ
Rangoon Creeper Drunken sailor

ถิ่นกำเนิด
ทวีปเอเชียเขตร้อน

ลักษณะทั่วไป
เป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็ง อายุหลายปีกิ่งอ่อนมีขนนุ่ม
     กิ่งแก่มีหนามทรงพุ่มแน่นทึบ

ใบ
ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามรูปรีหรือรูปรีขอบขนาน
     ขนาด 7-9x15-18 ซ.ม.แผ่นใบมีขนปกคลุม

ดอก
  ออกเป็นช่อแขนงห้อยตามซอกใบและปลายกิ่งมีทั้งดอกชั้นเดียว
     และดอกซ้อนกลีบดอกมีสีขาวเมื่อใกล้โรยจะเป็นสีชมพูส่งกลิ่นหอมแรง
     ในช่วงค่ำจนถึงเช้า ดอกบาน 3-4 วัน

ขยายพันธุ์
ปักชำ ตอนกิ่ง

สภาวะที่เหมาะสม
ปลูกกลางแจ้งแดดจัด ดินมีความชื้นระบายน้ำได้ดี

ประโยชน์
ปลูกประดับซุ้มไม้เลื้อย

 ภาพลายเส้น

 

              ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ

ประเภทของดอกไม้ ช่อเชิงหวั่น

ประเภทของต้นไม้
ไม้เลื้อยเนื้อแข็ง

แหล่งที่พบ
พื้นที่ที่มีน้ำชุ่มพอสมควรมีแสงแดดตลอดเวลา

การบานของดอก
บานสลับทีละดอก

ตำแหน่งการเกิดดอก
ปลายยอดแตกกิ่งตามกลางต้นดอกออกแยกจากช่อใบประดับเล็ก ๆ ที่อยู่ยอดสุด

กลีบดอก (สี,จำนวน,ขนาด)
สีแดงจำนวน 4 กลีบ ขนาด 2x0.5-0.8ซ.ม.

จำนวนกลีบเลี้ยง (สี)
5 กลีบสีเขียว

เกสรตัวผู้ (จำนวน,ขนาด,ลักษณะ)
5 กลีบมีสีเหลืองเป็นจุดอยู่ปลายยอดเกสรก้านชูเรณ
ูยาว 7 ม.ม.เป็นอันเล็กติดอยู่กับข้างดอก

เกสรตัวเมียจำนวน,ขนาด,ลักษณะ)
ยาว 6.1 ซ.ม. มียางเหนียว ๆ ไว้สำหรับจับเกสรตัวผู้

กลิ่น
มีกลิ่น

ดอกชบา
ดอกบานบุรี
ดอกบานชื่น
ดอกพวงแก้ว
ดอกแค
ดอกอัญชัญ
ดอกโป๊ยเซียน
ดอกว่านผักบุ้ง
ดอกมะเฟือง
ดอกดาวกระจาย
ดอกประทัดจีน
ดอกเฟื่องฟ้า
ดอกแพงพวย
ดอกเทียน
ดอกผกากรอง
ดอกหงอนไก่
ดอกผักเสี้ยน
ดอกผีเสื้อราตรี
ดอกหลิวใต้หวัน
ดอกผักบุ้ง