<% CurrentDay=Now CurrentDay=DatePart("d", currentday) CurrentWeekday=Weekday(Now) temp=CurrentDay mod 7 FirstWeekday=CurrentWeekday-temp If (FirstWeekday) >= 0 Then FirstWeekday=FirstWeekday+1 Else FirstWeekday=FirstWeekday+8 End If CurrentMonth=Month(Now) CurrentYear=Year(Now) %>

รูปโลโก้การผลิตกระดาษจากธูปฤาษีและผักตบชวา

ค้นหาคำว่า :  
     หน้าแรก   |   ธูปฤาษี   |   ผักตบชวา   |   การผลิตกระดาษ   |   ติดต่อเรา   |   แหล่งข้อมูล
ธูปฤาษี
- ถิ่นกำเนิด
- การสืบพันธุ์
- ผลเสีย
- การป้องกัน,ควบคมและกำจัด
- การนำไปใช้ประโยชน์
ผักตบชวา
- ถิ่นกำเนิด
- ลักษณะทางพฤษศาสตร์
- การสืบพันธุ์
- ผลเสีย
- การป้องกัน
- สาเหตุ, การป้องกันการระบาด
- การกำจัด
- ประโยชน์
- การนำมาใช้ประโยชน์
การผลิตกระดาษ
- กระดาษจากธูปฤาษี
- กระดาษจากผักตบชวา
- การฟอกขาววิธีต่างๆ
- ปัญหาในการทำ
- วัสดุอุปกรณ์

     ประวัติความเป็นมาของวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชโดยมนุษย์ เริ่มตั้งในสมัย 6,000 ปีก่อน ค.ศ. ได้มีการใช้มือถอนวัชพืช ซึ่งเป็นยุคที่มนุษย์ได้รู้จักการนำพืชมาปลูกเพื่อให้อุปโภค และบริโภค และรู้จักการแก่งแย่งแข่งขันของวัชพืชเหล่านั้น ต่อมาในราว 6,000 ปี ก่อน ค.ศ. มนุษย์ได้รู้จักการนำเอาไม้ หิน หรือการดูกสัตว์ทำเครื่องมืออุปกรณ์กำจัดวัชพืช และในราว 1,000 ปีก่อน ค.ศ. ได้มีการนำเอาสัตว์เลี้ยงมาเป็นแรงงานในการกำจัดวัชพืชอันได้แก่ การใช้ไถพรวนในแปลงปลูกพืช ต่อมาเมื่อได้มีการค้นคิดเครื่องยนต์ขึ้นจึงได้มีการนำเครื่องจักรกลมาใช้ในกำจัดวัชพืช ในราวปี ค.ศ. 1600 การใช้สารกำจัดวัชพืช (herbicide) ได้เริ่มใช้ครั้งแรกในราวปี ค.ศ. 1840 โดยได้มีการใช้ปูน (lime) เพื่อกำจัดวัชพืชบางชนิด ต่อมาในราวปี ค.ศ. 1854 ได้มีการใช้เกลือแกง (sodium) การใช้จุนสี (copper sulfate) ในปี ค.ศ. 1902 ได้มีการนำสารโซเดียมอาร์ซีไนท์ (sodium cholorate) มาปราบวัชพืชประเภทต่างๆ
สารเคมีในช่วงแรกๆ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ทั้งหมดเป็นสารอนินทรีย์ (inorganic) ซึ่งมีข้อจำกัดอยู่อย่างมาก ในระยะต่อมาจึงได้มีการค้นคิดสารเคมีประเภทอินทรีย์ (organic) ขึ้นมาโดยเริ่มมีการใช้ครั้งแรก ในราวปี ค.ศ. 1942 ซึ่งเป็นสาร 2,4-D ต่อมาได้มีการใช้สารเคมีประเภทอินทรีย์อีกมากมายที่มีคุณสมบัติ และมีประสิทธิภาพสูง เช่น การดูดซึม (systemic) และคุณสมบัติการเลือกทำลาย

การป้องกันกำจัดธูปฤาษีในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เป็นการป้องกันไม่ให้ธูปฤาษีจากที่อื่นแพร่ระบาดเข้ามาในพื้นที่หนึ่งๆ ซึ่งอาจเป็นแปลงปลูกพืช ส่วนขยายพันธุ์ของธูปฤาษีที่สามารถแพร่กระจายระบาดจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่งก็คือ เมล็ด จะมีการแพร่กระจายระบาดได้โดยอาศัยคุณสมบัติ หรือลักษณะพิเศษโดยมีน้ำหนักเบา อาศัยการติดไปตามตัวสัตว์ หรือปลิวไปตามลม เมื่อมีความจำเป็นที่ต้องปฏิบัติจะต้องมีหลักการ 3 อย่างดังนี้

การป้องกัน (prevention)
การควบคุม (control)
การกำจัด (eradication)

 

 

 

กระทรวงต่างๆ ที่ควรรู้
- กระทรวงกลาโหม -
www.mod.go.th

- กระทรวงการคลัง -
www.mof.go.th

- กระทรวงการต่างประเทศ -
www.mfa.go.th

- กระทรวงการท่องเทียวและกีฬา -
www.mots.go.th

- กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ -
www.m-society.go.th

- กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ -
www.moac.go.th

- กระทรวงคมนาคม -
www.mot.go.th

- กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม -
www.monre.go.th

- กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร -
www.mict.go.th

- กระทรวงพลังงาน -
www.energy.go.th

- กระทรวงพาณิชย์ -
www.moc.go.th

- กระทรวงมหาดไทย -
www.moi.go.th

- กระทรวงยุติธรรม -
www.moj.go.th

- กระทรวงแรงงาน -
www.mol.go.th

- กระทรวงวัฒนธรรม -
www.culture.go.th

- กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -
www.most.go.th

- กระทรวงศึกษาธิการ -
www.moe.go.th

- กระทรวงสาธารณสุข -
www.moph.go.th

- กระทรวงอุตสาหกรรม -
www.industry.go.th

  หน้าแรก   |   ธูปฤาษี   |   ผักตบชวา   |   การผลิตกระดาษ   |   ติดต่อเรา   |   แหล่งข้อมูล
Copyright 2004. All rights reserved