๑.การแต่งกาย เช่น การเส็งกลองจะมีการแต่งกาย โดยใส่เสื้อม่อฮ่อม หรือ เสื้อผ้าไหม นุ่งผ้าโสร่ง และผ้าขาวม้าคาดเอว ซึ่ง เป็นชุดพื้นเมืองของชาวอีสาน
               ๒. การให้ลูกหลานหรือคนรุ่นหลัง มีโอกาสได้ศึกษา เพราะคนเฒ่าคนแก่ เริ่มไม่มีแรงเส็งกลองไม่ไหว จึงต้องให้ลูกหลานซึ่งคนหนุ่มสาว ที่มีกำลัง แรง ดี มาเส็งกลองแทน เป็นการสืบทอดประเพณีไปในตัว
               ๓. บางท้องถิ่น ยังมีการใช้กลองเป็นสัญญาณต่างๆ เช่น ตีตอนเรียกชาวบ้านประชุม ตีย่ำค่ำ เรียกว่า "กลองแลง" ตีกลองตอนกลางคืนเรียกว่า "กลองดึก" เป็นต้น

 

แหล่งข้อมูล : นายสุรวิทย์ ศรีพล , นายสุทธิ เหล่าฤทธิ์ , นายวิศิษฐ์ ตั้งใจ





-------------------------------------------------------------------------
หน้าหลัก
| กลองเส็งสัญญาณรวมพลัง | ภูมิหลัง | การเส็งกลอง |
ขั้นตอนการทำกลองเส็ง | กลองเส็งกับการปรับเปลี่ยนทางสังคม |
กลองเส็งกับภูมิปัญญาชาวบ้าน | ความเชื่อเกี่ยวกับกลอง |
การเก็บรักษากลองเส็ง
| ประเพณีการเส็งกลอง | นิทานที่เกี่ยวข้อง |
โฉลกกลอง
| การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม | นิยามศัพท์เฉพาะ | แหล่งข้อมูล
-------------------------------------------------------------------------