:: หนังสือ ::
                    สุทธิ เหล่าฤทธิ์ และ คณะ . ประวัติเมืองชัยภูมิ. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์ ,๒๕๔๕.
                    วิไล วรรณบุษปวิช. นิทานพื้นบ้านเมืองชัยภูมิ. ชัยภูมิ : ไทยเสรีการพิมพ์ , ๒๕๔๔ .
                    คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ , สำนักงาน. วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ , ๒๕๔๑.
                    คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ , สำนักงาน. หนังสือวัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
                    เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดชัยภูมิ. กรุงเทพมหานคร.
                    นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น จำกัด , บริษัท. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542. กรุงเทพมหานคร,นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น จำกัด.
:: บุคคล ::
                    ๑. นายสุทธิ เหล่าฤทธิ์
          เกิดวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๘๕ ซึ่งเข้ารับราชการรวม ๔0 ปี ท่านได้รับราชการเป็นผู้อำนวยการสามัญศึกษา จังหวัดชัยภูมิ เมื่อเกษียณอายุราชการ ท่านได้บำเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคมมากมาย เช่น
                              - สืบสานประเพณีพื้นบ้านต่างๆ ของภาคอีสาน เช่น กลองเส็ง แคน ฯลฯ
                              - เป็นผู้ฟื้นฟูวัฒนธรรมเกี่ยวกับการเส็งกลอง
                              - เป็นผู้ริเริ่มนำเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการตัดสินการแข่งขันการเส็งกลอง คือ เป็นผู้ที่ริเริ่มใช้เครื่องวัดความดังของเสียง (sound level meter) ในการตัดสินการแข่งขันการเส็งกลอง

 

 




                    ๒. นายวิศิษฐ์ ตั้งใจ
          เป็นผู้ชำนาญเกี่ยวกับการทำกลองเส็ง และการเส็งกลอง นอกจากนี้ยังเป็นผู้ที่เผยแพร่วิธีการเส็งกลองให้แก่ลูกหลาน เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์อันดีต่อไป นอกจากนี้ท่านยังได้รับรางวัลมากมายเกี่ยวกับกลองเส็ง เช่น
                              - รางวัลเกียรติยศกลองเส็งหรือกลองกิ่ง ในงานมหกรรมวัฒนธรรมภาคอีสาน ครั้งที่ ๒/๒๕๔๕
                              - รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันเส็งกลอง ตามโครงการสร้างเสริมและปลูกฝัง "รักชาติ - รักถิ่น" จังหวัดชัยภูมิ ปี ๒๕๔๖ ณ ศูนย์เยาวชนเทศบาลเมืองชัยภูมิ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ (ทีมที่ ๑)
                              - รางวัลชมเชย การแข่งขันเส็งกลอง ตามโครงการสร้างเสริมและปลูกฝัง "รักชาติ - รักถิ่น" จังหวัดชัยภูมิ ปี ๒๕๔๖ ณ ศูนย์เยาวชนเทศบาลเมืองชัยภูมิ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ (ทีมที่ ๑)

 

 

 

 


                    ๓. พระอาจารย์ประมวล
          เจ้าคณะตำบลนาฝาย เป็นผู้ชำนาญเกี่ยวกับกลองเส็ง
                    ๔. นางฉวี อิทธิกุล
          อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ หมวดวิชาคหกรรม โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องกลองเส็ง เป็นผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกลองเส็งและผู้รู้เกี่ยวกับกลองเส็ง
                    ๕. นางวิไล วรรณบุษปวิช
          อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ หมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนสตรีชัยภูมิ และเป็นอาจารย์ประจำศูนย์วัฒนธรรมนิทัศน์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องกลองเส็ง เป็นผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกลองเส็งและผู้รู้เกี่ยวกับกลองเส็ง
                    ๖. นายสุรวิทย์ ศรีพล
          ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายบริการ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับกลองเส็ง
                    ๗. นายวิวุฒิ ตั้งใจ
          เป็นผู้มีความสามรถในการเส็งกลอง
                    ๙. นายอรชุน ตั้งใจ
          เป็นผู้มีความสามรถในการเส็งกลอง
                    ๑๑.นายกนก อ้นถาวร
          อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ หมวดคอมพิวเตอร์ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ เอื้อเฟื้อ สนับสนุนเครื่องมือ
อิเล็คทรอนิค
                    ๑๒.อาจารย์วสุ จอกสถิตย์
          อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ หมวดคณิตศาสตร์ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ เอื้อเฟื้อ สนับสนุนเครื่องมือ
อิเล็คทรอนิค
                    ๑๓. นายวีระพล โชติธรวิสุทธิ์
          เป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับกลองเส็ง จากสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดชัยภูมิ
                    ๑๔.นางละมัย กำลังฤทธิ์
          เป็นผู้มีความรู้เกี่ยวกับกลองเส็ง จากสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดชัยภูมิ
                    ๑๕.นางประภาศรี อ่อนตา
          อาจารย์ ๒ ระดับ ๗ หมวดวิทยาศาสตร์ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ เอื้อเฟื้อข้อมูลนิทานพื้นบ้าน

:: วัด ::
                    ๑. วัดเจริญผล
          เป็นสถานที่เก็บรักษากลองเส็ง อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ
                    ๒. วัดบ้านขี้เหล็กใหญ่
          เอื้อเฟื้อข้อมูลเกี่ยวกับกลองเส็ง และผู้มีความรู้ในท้องถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ

:: อินเตอร์เน็ต ::
                    ๑. www.culture.go.th
                    ๒. www.kanchanapisek.or.th
                    ๓. www.isangate.com





-------------------------------------------------------------------------
หน้าหลัก
| กลองเส็งสัญญาณรวมพลัง | ภูมิหลัง | การเส็งกลอง |
ขั้นตอนการทำกลองเส็ง | กลองเส็งกับการปรับเปลี่ยนทางสังคม |
กลองเส็งกับภูมิปัญญาชาวบ้าน | ความเชื่อเกี่ยวกับกลอง |
การเก็บรักษากลองเส็ง
| ประเพณีการเส็งกลอง | นิทานที่เกี่ยวข้อง |
โฉลกกลอง
| การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม | นิยามศัพท์เฉพาะ | แหล่งข้อมูล |
-------------------------------------------------------------------------