Digital Transformation ภาคการผลิตอย่างไรให้ “สำเร็จ”

เมื่อภาคอุตสาหกรรมต้องเจอกับความท้าทายครั้งใหญ่ ที่นอกเหนือจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกและเทคโนโลยีแล้ว ยังมีวิกฤตโควิด-19 เข้ามาเป็นตัวเร่งให้ภาคอุตสากรรมต้องปรับตัวเพื่อให้ธุรกิจอยู่รอด โดยมีเป้าหมาย คือ “การไปสู่อุตสาหกรรม 4.0” และการไปสู่เป้าหมายนั้นองค์กรจำเป็นต้องรู้จัก เข้าใจ และลงมือทำ “Digital Transformation”

Digital Twin แบบจำลองเสมือนจริงจากระบบทางกายภาพ

เทคโนโลยี Digital Twin คือผลลัพธ์ของการพัฒนาควบรวมของเทคโนโลยี ที่จะมีบทบาทเข้ามาเป็นตัวสำคัญแก่อุตสาหกรรมหลายๆประเภท

IIoT Connectivity and Interoperability Testbed (ชุดสาธิตการเชื่อมต่อและการทำงานร่วมกันของเครื่องจักรด้วย IIoT)

https://www.youtube.com/watch?v=5nVjpv_Rv7wIIoT Connectivity and Interoperability Testbed ชุดสาธิตประกอบด้วยอุปกรณ์ PLC หลากหลายรุ่น โดยแบ่งเป็นสถานีต่างๆตามโพรโทคอลการสื่อสารของอุปกรณ์ของแต่ละค่ายผู้ผลิตหลัก เช่นสถานี CC-Link IE, สถานี EtherNet/IP, สถานี EtherCAT, สถานี PROFINET และ สถานี OPC UA  ในแต่ละสถานีจะมีการสาธิตการเขียนโปรแกรมควบคุมในระบบอุตสาหกรรมแบบอัตโนมัติด้วยอุปกรณ์ PLC ร่วมกับอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆเช่นอุปกรณ์ I/O, HMI, Motor, Servo และการสาธิตการสื่อสารด้วยโพรโทคอลต่างๆ รวมถึงการดึงข้อมูลจากอุปกรณ์ PLC ไปยังคลาวด์แพลทฟอร์ม  เพื่อนำไปประมวลผล นำเสนอ หรือแจ้งเตือนกรณีมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น

Solar Cooling’ ระบบปรับอากาศพลังงานแสงอาทิตย์

บทความ | เอกชาติ หัตถา
ทีมระบบไซเบอร์-กายภาพ (CPS)
กลุ่มวิจัยไอโอทีและระบบอัตโนมัติสำหรับงานอุตสาหกรรม (IIARG)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค-สวทช.)

ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน

ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน หรือ Sustainable Manufacturing Center: SMC เป็นโครงการนำร่องของเมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (ARIPOLIS) ซึ่งเป็น 1 ใน 4 เมืองนวัตกรรมของ EECi  ศูนย์นวัตกรรม SMC จะช่วยแก้ปัญหาภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทยที่ขาดแคลนแรงงานทักษะที่จำเป็น เครื่องจักรที่ใช้งานอยู่ไม่ทันสมัย ทำให้ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตลดลง ตลอดจนลดการใช้พลังงานอย่างมีนัยยะสำคัญ ด้วยแพลตฟอร์ม IDA (Industrial IoT and Data Analytics Platform) หรือ แพลตฟอร์มไอโอทีและระบบวิเคราะห์ข้อมูลอุตสาหกรรม แพลตฟอร์ม IDA  แพลตฟอร์ม IDA เป็นแพลตฟอร์มที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากอุปกรณ์ IoT ที่จะช่วยติดตาม วิเคราะห์ข้อมูล และตรวจสอบประสิทธิภาพการผลิต การใช้พลังงาน รวมถึงค่าสภาวะต่างๆ ของเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม นำไปสู่การบริหารจัดการการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำมากขึ้น เช่น ลดการสูญเสียจากการหยุดเครื่องจักร ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง ลดระดับสินค้าคงคลัง ช่วยให้การทำงานมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังผลักดันให้ภาคการผลิตสามารถแข่งขันทั้งด้านราคาและเทคโนโลยีกับต่างประเทศได้อย่างยั่งยืน ปัจจุบัน มีโรงงานเข้าร่วมโครงการในปี 2563 จำนวน … Read more