กฟภ. ชวนส่ง “บทความวิชาการ” ในงานประชุมวิชาการและนวัตกรรม ( PEACON & Innovation 2021)

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษา อาจารย์ นักวิชาการ และพนักงาน กฟภ. ได้นำเสนอบทความทางวิชาการในการประชุมวิชาการและนวัตกรรม กฟภ. ปี 2564

Karakuri Kaizen ทางเลือกเพื่อการปรับปรุงสายการผลิต

การนำหลักการ Karakuri Kaizen มาประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบอัตโนมัติ เพื่อตอบสนองการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยใช้หลักการของกลไกและแรงในการขับเคลื่อน

Terahertz Imaging : สร้างภาพด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์ ประยุกต์ใช้กับระบบสายพานลำเลียง

การสร้างภาพด้วยสัญญาณเทระเฮิรตซ์ ประยุกต์ใช้กับระบบสายพานลำเลียง ตอบโจทย์อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร และด้านการรักษาความปลอดภัย

NECTEC Timeline (since 1986)

จากจุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

เปิดแล้ว!! โครงการ “ต่อกล้าอาชีวะ” เวทีของ #คนพันธ์ุR กับนวัตกรรมทางการเกษตร

“ต่อกล้าอาชีวะ” เปิดรับสมัครโครงงาน/ผลงาน ด้านเทคโนโลยีการเกษตรที่จะมาช่วยค้นหาวิธีการ แนวทางการจัดทำเครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับแก้ปัญหาให้เกษตรกร

[Hall of Fame] นักวิจัยเนคเทค สวทช. สร้างชื่อ ติดอันดับ 1 ใน 25 “SPIE Women in Optics 2022”

นักวิจัยเนคเทค สวทช. สร้างชื่อ ติดอันดับ 1 ใน 25 “SPIE Women in Optics 2022” ซึ่งคัดเลือกจากนักวิชาการทางด้านนี้จากทั่วโลก

ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC)

ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (Thai Microelectronics Center : TMEC) เป็นหน่วยวิจัยภายใต้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ซึ่งมีเทคโนโลยีหลักคือกระบวนการผลิตเซนเซอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนแผ่นซิลิกอน โดยมีทีมวิจัยหลัก 3 ทีม ซึ่งการจัดตั้งทีมแบ่งตามกิจกรรมหลักที่รับผิดชอบ ดังนี้ ทีมวิจัยเชิงอุตสาหกรรมบนซิลิกอนเทคโนโลยี (SIFRT) ดูแลงานทางด้าน ระบบเครื่องกลไฟฟ้าจุลภาค (Micro Electro-Mechanical System) หรือ เมมส์ (MEMS) งานด้านการผลิตเซนเซอร์ทางเคมีและชีวภาพบนเทคโนโลยีแพลตฟอร์มอีสเฟต (ISFET Platform) และ งานบริการด้านการสร้างต้นแบบ (Wafer level Sensor Prototyping) และการผลิตขนาดเล็ก (Small Volume Production) ทีมวิจัยการออกแบบวิเคราะห์และประเมินผลการทำงานของอุปกรณ์จากกระบวนการผลิต (DSCRT) ทีมวิจัยนี้สนับสนุนการออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ที่ผลิตในทีเมค เพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ ใหม่ รวมทั้ง พัฒนาเซนเซอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านการจำลองทางคณิตศาสตร์ รวมถึงการสนับสนุนการทดสอบอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อวัดคุณภาพของสินค้าที่ส่งมอบ ทีมวิจัยนวัตกรรมพื้นผิววัสดุและอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิก (SMD-1RT) มีหน้าที่ในการผลักดันต้นแบบให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ โดยร่วมมือกับพันธมิตรภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ โดย ณ ปัจจุบัน ทีมวิจัยมีเป้าหมายในการผลักดัน แลป ออน … Read more