Fungus หมายถึง เชื้อราและกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีสปอร์  สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มีทั้งชนิดเซลล์เดียว  และหลายเซลล์ นำมาใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน แต่ก็ก่อให้เกิดโรคหลายชนิดขึ้นกับมนุษย์
| หน้าหลัก | ราวิทยาเบื้องต้น | ลักษณะสำคัญ | การดำรงชีวิต | การจัดกลุ่ม | การวินิจฉัย | การรักษาและทำลาย | ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ | เชื้อราในสิ่งส่งตรวจ | เชื้อรากับบิ๊กD2B |


เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา

ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา

การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota

การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ

การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา

รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน

ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ

เชื้อรากับบิ๊ก D2B


     
ก้านและดอกเห็ด

         ได้แก่ เห็นที่กินเป็นอาหารได้และมีความสำคัญ
     ทางเศรษฐกิจ ตัวอย่าง เห็ดฟาง (volvariclla volvacea)
     เห็ดหอม (Lentinula edodes) เห็ดหูหนู เห็ดนางรม
     เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดแชมปิญอง เห็ดกระดุม
                 ลักษณะสำคัญ
           -ไฮฟา มีเยื่อกั้นแบบรูพรุน
           -ไมซีเลียมมี 3 ระยะ

       ระยะแรก เพิ่งเจริญขึ้นจากสปอร์มีนิวเคลียสเดียว
       ระยะที่สอง แต่ละเซลล์มี2นิวเคลียส
       ระยะสาม เกิดจากไมซีเลียมระยะสองรวมตัวกัน
                      คล้ายเนื้อเยื่อประกอบขึ้นเป็นก้านและดอกเห็ด
สปอร์มีนิวเคลียสเดียว
สปอร์จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
      สร้างสปอร์จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
  เรียกว่า basidiospore ถูกสร้างที่ภายนอกโครงสร้าง
  เรียกว่าเบสิเดียม แบ่งออกเป็น 2 พวก คือ
 1. พวกที่มีเบสิเดีย 4 เบสิดิโอสปอร์
 2. พวกที่มีเบสิเดีย 1เบสิดิโอสปอร์

         พวกที่มีวิวัฒนาการสูงสุด เบสิเดียมเกิดอยู่บนฟรุตติงบอดีที่
    เรียกว่า เบสิดิโอคาร์ป(basidiocarp) หรือดอกเห็ด