Fungus หมายถึง เชื้อราและกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีสปอร์  สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มีทั้งชนิดเซลล์เดียว  และหลายเซลล์ นำมาใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน แต่ก็ก่อให้เกิดโรคหลายชนิดขึ้นกับมนุษย์
| หน้าหลัก | ราวิทยาเบื้องต้น | ลักษณะสำคัญ | การดำรงชีวิต | การจัดกลุ่ม | การวินิจฉัย | การรักษาและทำลาย | ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ | เชื้อราในสิ่งส่งตรวจ | เชื้อรากับบิ๊กD2B |


เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา

ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา

การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota

การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ

การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา

รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน

ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ

เชื้อรากับบิ๊ก D2B



เนื้อเยื่อของรา
           การจัดหมวดหมู่ของราในปัจจุบัน นักไมคอลโลยีแต่ละคน
    ได้จัดแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่จะใช้ศึกษา เช่น
         - Bessey ได้ศึกษาเกี่ยวกับสัณฐานวิทยาของเรา
            จึงแบ่งเชื้อราออกเป็น 3 class คือ Phycomycetes,
            Ascomycetes, Basidiomycetes และ
            form-class Imperfect fungi
         - Shear ได้ศึกษาเกี่ยวกับราถึงระดับ genera จึงแบ่งเชื้อรา
            ออกเป็น 4 clase คือ Phycomycetes, Ascomycetes,
           Promycetes และ Imperfect fungi
         - Alexopoulos ซึ่งเป็นนักไมคอลโลยีท่านหนึ่ง ได้จัดเชื้อรา
           อยู่ใน Kingdom Plantae และ division Mycota
           โดยแบ่งออกเป็น 2 sub-division คือ
           1.sub-division Myxomycotina ได้แก่ พวกราเมือกและ
           2.sub-division Eumycotina ได้แก่ พวกเชื้อราทั่วๆ ไป
เนื้อเยื่อของรา
 การจัดหมวดหมู่ของรา
          ในปัจจุบันใช้การสร้างสปอร์ที่เกิดจากการสืบพันธุ์แบบ
       อาศัยเพศเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 4 ดิวิชัน ได้แก่
       1. ดิวิชันไซโกไมโคตา (Zygomycota) สร้างไซโกสปอร์
       2. ดิวิชันแอสโคไมโคตา (Ascomycota) สร้างแอสโคสปอร์
       3. ดิวิชันเบสิดิโอไมโคตา(Basidiomycota) สร้างเบสิดิโอสปอร์
       4. ดิวิชันดิวเทอโรไมโคตา(Deuteromycota) หรือเรียกว่า
           Fungi imperfecti สร้างสปอร์ไม่ทราบว่าชนิดใดเนื่องจาก
           นิวเคลียสของสปอร์หลอมรวมกัน


   Jorolus Linnaeus  นักชีววิทยาชาวสวีเดน
         Jorolus Linnaeus  นักชีววิทยาชาวสวีเดนผู้วางรากฐานในการ
     จัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตและได้รับการยกย่องว่า
    เป็น"บิดาแห่งการจำแนกชั้นสิ่งมีชีวิตยุคใหม่" หรือ
    "บิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธาน (Father of Modern
      Classification) "
    ซึ่งได้นำภาษาลาติน 2 ชื่อ มาใช้ในการเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตซึ่ง
     เรียกว่า binonial nomenclature โดยชื่อแรกเป็นชื่อสกุล
    หรือจีนัส (generic name) และชื่อหลังเป็นชื่อตัวหรือสปีชีส์
    (specific name) และวิธีการนี้ก็ยังใช้กันอยู่จนถึงปัจจุบัน