Fungus หมายถึง เชื้อราและกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ มีสปอร์  สืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มีทั้งชนิดเซลล์เดียว  และหลายเซลล์ นำมาใช้ประโยชน์ในหลายๆ ด้าน แต่ก็ก่อให้เกิดโรคหลายชนิดขึ้นกับมนุษย์
| หน้าหลัก | ราวิทยาเบื้องต้น | ลักษณะสำคัญ | การดำรงชีวิต | การจัดกลุ่ม | การวินิจฉัย | การรักษาและทำลาย | ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ | เชื้อราในสิ่งส่งตรวจ | เชื้อรากับบิ๊กD2B |


เชื้อรา
ราวิทยาเบื้องต้น
ผลของเชื้อราต่อสิ่งมีชีวิต
โรคที่เกิดจากเชื้อรา
เชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
การเรียกชื่อเชื้อรา

ลักษณะสำคัญ
ลักษณะของเชื้อรา
เนื้อเยื่อของเชื้อรา
โครงสร้างของเชื้อรา

การดำรงชีวิต
การดำรงชีวิตของเชื้อรา
การเจริญของเส้นใย
สัณฐานวิทยา
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ

การจัดกลุ่ม
การจัดหมวดหมู่เชื้อรา
Ascomycota
Basidiomycota
Deuteromycota
Zygomycota

การวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัย
ความปลอดภัยในการตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในห้องปฏิบัติการ
การเก็บวัตถุตัวอย่าง
การดำเนินการตรวจ

การรักษาและทำลาย
การทำลายและฆ่าเชื้อรา

รูปภาพ
เชื้อราทั่วไป
ภาพขยายจากกล้องจุลทรรศน์
ภาพเชื้อราที่เกิดกับร่างกาย
ศึกษาดูงานที่โรงพยาบาลลำพูน

ภาคผนวก
ชนิดอาหารเลี้ยงเชื้อ
เชื้อราที่พบในสิ่งส่งตรวจต่างๆ

เชื้อรากับบิ๊ก D2B


           -  เชื้อราส่วนใหญ่มีชีวิตได้ตั้งแต่ 0 องศา จนถึง 35? C
       แต่อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญ (optimum temperature)
       คือ 20 -30? C และเจริญได้ดีในอาหารเลี้ยงเชื้อที่เป็นกรด (Ph)
       ประมาณ 6
             - แสงสว่าง ไม่เป็นสิ่งสำคัญในการเจริญเติบโตของเชื้อรา
       แต่ในบางชนิด แสงสว่าง เป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างสปอร์
       และจะหันเหก้านซูสปอร์ไปทางทิศที่มีแสงสว่าง

การสร้างสปอร์
การใช้ความร้อนฆ่าเชื้อรา

            อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญของราแต่ละชนิดไม่เท่ากัน
       ราบางชนิดเจริญได้ในอุณหภูมิ 40 -50? C
       และบางชนิดสามารถเจริญที่อุณหภูมิต่ำขนาด
       อุณหภูมิของตู้เย็นได้แต่ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นจากอุณหภูมิ
      ที่เหมาะสมการเจริญของราจะลดน้อยลงดังนี้
          - ที่อุณหภูมิ 50? C เชื้อราจะเจริญน้อยลง
          - ที่อุณหภูมิ 60? C ราทุกชนิดถูกฆ่าตายหมด (ใช้วิธีนี้ในการหยุดการ
             fermentation ของเชื้อรา)
          -
ที่อุณหภูมิ 100 ? C สปอร์ต่าง ๆ และสเคอโรเดียมถูกฆ่าตายหมด

           การทำลายเชื้อราโดยทั่วไปในห้องปฏิบัติการจะมีการ
     ทดสอบโดยการใช้แผ่นยาและเชื้อราในจานเพาะเชื้อทดสอบ กัน
     ซึ่งถ้าตรงจุดยาชนิดใดไม่มีเชื้อราขึ้นจึงจะสรุปว่าตัวยาชนิดใด
     ที่รักษาได้ผลมากน้อยขนาดไหน
           ซึ่งการทดสอบนี้จะต้องให้เจ้าหน้าที่จุลชีววิทยาเป็นผู้ทดสอบ
    และส่งผลรายงานให้แพทย์เป็นผู้วินิจฉัยว่าจะให้ตัวยาชนิดใดแก่ผู้ป่วย
การใช้รังสี UV ฆ่าเชื้อรา

การใช้สารเคมีในการฆ่าเชื้อรา
             การฆ่าเชื้อราในห้องปฏิบัติการ (ห้องจุลชีววิทยา)
     1. การใช้ความร้อนฆ่าเชื้อรา
     2. การใช้รังสี UV ฆ่าเชื้อรา
     3. การใช้สารเคมีในการฆ่าเชื้อรา